ReadyPlanet.com
dot dot
What to Bring to Your Divorce Lawyer

อาทิตย์ นี้มีคนมาปรึกษาเรื่องหย่าสี่คนภายในสองวัน ดิฉันเลยขอเขียน รวบยอดทีเดียวเลย นะคะ เป็นคำแนะนำ สำหรับคนที่กำลังจะไปหาทนาย ทำเรื่องหย่า ส่วนคนที่ยังรักกันหวานชื่น อ่านไว้ไม่เสียหลายค่ะ เอกสารหลายๆ อย่าง ถ้าคุณสามารถเก็บรวบรวม เอาไว้ตั้งแต่เนิ่นๆ ได้ คุณจะทุ่นค่าจ้าง ทนายนำสืบไปได้หลายพันเหรียญค่ะ 

แจกแจงรายละเอียดของชีวิตแต่งงาน:

 

 

เรื่องนี้เป็นเรื่องสำคัญ ถึงมันจะทำยากสักหน่อย เพราะคุณกำลังสับสน เจ็บปวด แต่ต้องทำค่ะ ตั้งสติให้ดี และแจงรายละเอียดลงไปเป็นเรื่องๆ บรรยายได้มากเท่าไหร่ ก็ยิ่งเป็นประโยชน์ แก่เคสของคุณเท่านั้น ตัวอย่างเช่น :

ตั้งแต่รู้จักกัน ช่วงเดทกันนานเท่าไหร่; หมั้นกันเมื่อไหร่ แหวนหมั้นราคาเท่าไหร่ (อย่าคิดว่าไม่สำคัญ เพราะศาลดูเหมือนกัน ยิ่งถ้าคุณก่อร่างสร้างตัว มาด้วยกัน ตอนหมั้นแหวนราคาไม่กี่สตางค์ แต่พอมีฐานะก็จะมาทิ้งกันไปง่ายๆ ไม่ดีแน่ๆ); ลงเงินลงแรงกันฝ่ายละแค่ไหน เช่น ทำงานทั้งคู่ แต่คนหนึ่งรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายในบ้านทุกอย่าง แต่อีกฝ่ายหนึ่ง เอาเงินไปลงกับธุรกิจหมด ฯลฯ; มีประวัติ Domestic Violence or abuse หรือไม่; สาเหตุที่ทำให้ต้องการหย่า; สุขภาพกาย และสุขภาพจิต ของทั้งคู่; ประวัติการทำงานของทั้งคู่ รายได้ เงินสะสม ฯลฯ; และ Lifestyle (ดูหัวข้อต่อไปนะคะ); 

Marital Lifestyle:

 

 

คุณกับสามีดำรงชีวิตอย่างไร เช่น เป็นเหมือนคนระดับกลางทั่วไป หรือเหมือนคนระดับล่าง ที่รายได้ไม่มาก เงินใช้เดือนชนเดือน หรือใ้ช้ชีวิตหรูหรา มีบ้านพักตากอากาศ มีสระว่ายน้ำ มีคนรับใช้ มีเครื่องบินส่วนตัว ฯลฯ ถ้าสามีคุณมีฐานะดี ถึงคุณไม่มีอะไร แต่การหย่าก็ไม่ได้แปลว่า คุณจะต้องไปแต่ตัวเสมอไป ดังนั้น เขียนบรรยายลงไป ให้ละเอียดที่สุดเท่าที่จะทำได้ เช่น

บ้านที่อยู่ด้วยกันระหว่างที่แต่งงาน กัน เป็นบ้านแบบไหน – มีสระว่ายน้ำ หรือสนามเทนนิสไหม , เฟอร์นิเจอร์มูลค่าทั้งหมดเท่าไหร่, ค่าซ่อมแซม ปรับปรุงบ้านเท่าไหร่ ; มีบ้านพักตากอากาศไหม; จำนวนเงินใน savings และ investment accounts; มีรถกี่คัน ระบุรุ่น ปี สี ป้ายทะเบียนลงไปด้วย, เรือ, เครื่องบิน, รถมอร์เตอร์ไซค์ หรืออื่นๆ ; ระหว่างที่แต่งงานกัน ไปตากอากาศกี่ครั้ง ที่ไหนบ้าง; เครื่องเพชร เสื้อขนสัตว์ หรือของขวัญแพงๆ ที่สามีซื้อให้; ห้างร้านที่ไปช้อปปิ้งเป็นประจำ (ไม่ใช่ซูเปอร์มาร์เก็ต); เป็นสมาชิกคลับต่างๆ หรือเปล่า; ไปเที่ยวหรือกินข้าวนอกบ้าน ดูหนัง หรือไปคาสิโน บ่อยแค่ไหน ส่วนมากไปที่ไหน; มีคนรับใช้ คนสวน คนขับรถ พี่เลี้ยงเด็ก ฯลฯ หรือไม่ ; มีของสะสมที่เป็นของแอนติค หรืองานศิลปะ หรือไม่ ; ค่าใช้จ่ายของลูกๆ รวมทั้งค่าเทอม โรงเรียนเอกชน ค่าแคมป์ ครูสอนพิเศษ ครูสอนดนตรี ว่ายน้ำ ฯลฯ; มีเงินสดในบัญชีเท่าไหร่; ค่าใช้จ่ายส่วนตัวเท่าไหร่; มีสัตว์เลี้ยงไหม ฯลฯ 

รวบรวมหลักฐาน เอกสาร:

 

 

ทางที่ดีที่สุดคือ ระหว่างที่ยังดีๆ กันอยู่ ก็สร้างไฟล์สำหรับเก็บเอกสารเหล่านี้สำหรับตัวเอง เวลาหย่ากัน คุณก็จะมีหลักฐานในมือค่ะ

a) Tax Returns (Personal & Business);
b) หลักฐานการใช้จ่าย (checking account statements, registers, canceled checks and credit card statements);
c) Personal Financial Statements;
d) Loan applications;
e) Business records;
f) Insurance policies and riders;
g) Bank & Brokerage account statements;
h) Retirement Account statements;
i) พินัยกรรม กับ Trust Documents;
j) เอกสารประเมินราคาที่ดิน และอสังหาฯ ;
k) โฉนด กับสัญญากู้เงินซื้อบ้านหรือซื้อทรัพย์สินอื่น
 

รายการทรัพย์สินและหนี้สิน:

 

 

เรื่องนี้สำคัญมาก ถ้ามีสำเนายิ่งดี ถ้าไม่มี ให้ทำเป็นบันทึกเอาไว้ ว่ามีอะไรบ้าง ซื้อมาเมื่อไหร่ มูลค่าเท่าไหร่

a) Real Estate;
b) Bank & Brokerage Accounts;
c) Vehicles;
d) Personal Property;
e) Retirement Accounts;
f) Businesses;
g) Custodial Accounts;
h) Other Accounts ;
i) Mortgages;
j) Home Equity Loans;
k) Credit Cards;
l) Tax Liabilities;
m) Other Debts;
n) Sole Proprietorships;
o) Tax Losses;
p) Stock Options;
q) Term Life Cash Value Insurance on Terminally Ill Person;
r) Deferred Compensation (Phantom Stock Awards, Top-Hat Plans, etc.);
s) Frequent Flyer Miles.
 

เขียน resume ของคุณเอง:

 

 

หัวข้อหลักๆ ที่ต้องระบุลงไปคือ

 

a) จบการศึกษาสูงสุดสาขาอะไร มีไลเซ่นส์ หรืออื่นๆ หรือไม่
b) เคยทำงานอะไรมาบ้าง ตำแหน่งอะไร รายได้เท่าไหร่ มีสวัสดิการไหม
c) ถ้าเป็นแม่บ้าน ไม่ได้ทำงาน ก็ให้บรรยายไปว่า คุณมีแผน จะทำมาหาเลี้ยงตัวเองอย่างไร เช่น อยากไปเรียนต่อ หรืออยากทำธุรกิจของตัว ฯลฯ
d) มีแผนสำหรับเกษียณอย่างไร

 

โดยทั่วไปศาลจะพิจารณารายละเอียดหลาย ประเด็น และสิ่งหนึ่งที่สำคัญมากในการหย่า คือให้ทั้งสองฝ่าย สามารถ ยืนด้วยตนเองได้ ถึงคุณจะแต่งงาน ไม่นานพอที่จะได้รับ alimony ได้ แต่ศาลก็มักจะพิจารณา ให้ฝ่ายที่มีรายได้มากกว่า เป็นผู้ส่งเสีย ให้ฝ่ายที่มีรายได้น้อยกว่า ในช่วงการตั้งต้นชีวิตใหม่ เช่น ส่งเสียให้เรียนวิชาชีพ หรือเริ่มต้นธุรกิจของตนเอง ตรงนี้คือที่เรียกกันว่า spousal support ส่วนจะเป็นจำนวนเงินเท่าไหร่ หรือกี่เดือน ศาลจะเป็นผู้พิจารณาค่ะ

 

© 2007-2008 Lawanwadee




Marriage & Divorce

The 10 Most Expensive Celebrity Divorces (สำหรับสมาชิก)
Anne (สำหรับสมาชิก)
How to Make It Through the Holidays After Divorce (สำหรับสมาชิก)
Divorce in NY (สำหรับสมาชิก)
CA or NV (สำหรับสมาชิก)
Fiancé Visa VS Spouse Visa (สำหรับสมาชิก)
Rules for Divorce in Canada
Inheritance (สำหรับสมาชิก)
Paternity Test in PA (สำหรับสมาชิก)
Divorce (สำหรับสมาชิก)
Parental/Guardian Approval For Minors To Travel (สำหรับสมาชิก)
Getting help for domestic violence or abuse
Texas Divorce (สำหรับสมาชิก)
Marriage Overseas (สำหรับสมาชิก)
US Child Support Laws (สำหรับสมาชิก)
Managing Marital Property - Do's and Don'ts (สำหรับสมาชิก)
Domestic Violence (สำหรับสมาชิก)
Spouse don't show up in court (สำหรับสมาชิก)
Child Support Question (สำหรับสมาชิก)
How To Serve Divorce Papers (สำหรับสมาชิก)
Alimony (สำหรับสมาชิก)
Divorce & Child Support
Nebraska Divorce (สำหรับสมาชิก)
Before You Leave.. (สำหรับสมาชิก)
Remarriage Waiting Period (สำหรับสมาชิก)
Legal Separation (สำหรับสมาชิก)
Finding the Right Divorce Attorney (สำหรับสมาชิก)
State-by-State Marriage "Age of Consent" Laws (สำหรับสมาชิก)
Child support modification (สำหรับสมาชิก)
Contempt of Court
Get Real !!! (สำหรับสมาชิก)
รจนาเลือกคู่ ตอนที่หนึ่ง (สำหรับสมาชิก)
Domestic Violence & Divorce (สำหรับสมาชิก)
Divorce in Thailand 1 (สำหรับสมาชิก)
Filing a Divorce (สำหรับสมาชิก)
Divorce Before 2 Years I (สำหรับสมาชิก) article
Divorce Before 2 Years II (สำหรับสมาชิก) article
Divorce in Denmark (สำหรับสมาชิก)
Married to Abusive Husband (สำหรับสมาชิก)
Domestic Disputes (สำหรับสมาชิก)
Unmarried Couple (สำหรับสมาชิก)
Canadian-Thai Marriage (สำหรับสมาชิก)
Jim & Linda (สำหรับสมาชิก)
Is it too late? (สำหรับสมาชิก)
An Equitable Divorce (สำหรับสมาชิก)
Spousal Support/Alimony (สำหรับสมาชิก)
Divorce & Debts (สำหรับสมาชิก)
Child Custody FAQs (สำหรับสมาชิก)
Grounds for Divorce P-W (สำหรับสมาชิก)
Grounds for Divorce N-O (สำหรับสมาชิก)
Grounds for Divorce: M (สำหรับสมาชิก)
Grounds for Divorce: H-L (สำหรับสมาชิก)
Grounds for Divorce: A-M (สำหรับสมาชิก)
Separation Period (สำหรับสมาชิก)
How do you prepare for a divorce? article
What Every Woman Should Know About Marriage III (สำหรับสมาชิก)
What Every Woman Should Know About Marriage II (สำหรับสมาชิก)
What Every Woman Should Know About Marriage I (สำหรับสมาชิก)
Waiting Times After A Divorce (สำหรับสมาชิก)
Child Support & Paternity Test (สำหรับสมาชิก)
Truth About Marriage (สำหรับสมาชิก)
Child Support & Unmarried Couple
Before Filing for a Divorce II (สำหรับสมาชิก)
Before Filing for a Divorce I (สำหรับสมาชิก)
Should I Change My Family Name? (สำหรับสมาชิก)
Child Support (สำหรับสมาชิก)
Can I Keep My Maiden Name?
Greencard & Divorce (สำหรับสมาชิก)
Married to Pedophiles (สำหรับสมาชิก)
Seeking Farang Husband (สำหรับสมาชิก)
Separation vs. Divorce (สำหรับสมาชิก)
Annulment/Divorce vs Immigration (สำหรับสมาชิก)
No Passport (สำหรับสมาชิก)
He's Still Married.. (สำหรับสมาชิก)
Abusive Relationship (สำหรับสมาชิก) article



bulletFeature Articles
bulletMarriage & Divorce
bulletImmigrant Visa
bulletNon-Immigrant Visa
bulletFree Zone
bulletExchange Program
bulletWomen & Money
bulletThai Laws
bulletDating
bulletSSN & DL
bulletMisc
bulletBehind the Facade
bulletCoffee Break
bulletMarket Place
dot
useful links
dot
bulletCase status online
bulletUSCIS Civil Surgeons
bulletUSCIS Field Offices
bulletImmigration Overseas Offices
bulletApplication Support Centers
bulletInfoPass
bulletUSCIS Home
bulletImmigration Forms
bulletForeign Embassies and Consulates Worldwide
bulletDept of Labor
bulletDept of State
bulletETA
bulletVisa Bulletin
bulletTravel
bulletEOIR
bulletSelective Service
bulletSocial Security Online
bulletIRS
dot
รวมลิงค์เว็บเพื่อนบ้าน
dot
bulletUtopiaThai
bulletWorldTimes
bulletHumansRights
dot
Newsletter

dot

แบนเนอร์ตัวอย่าง
แบนเนอร์ตัวอย่าง
แบนเนอร์ตัวอย่าง


Copyright © 2009-2015 All Rights Reserved.